• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

📢🥇✨งานทดสอบความหนาแน่นของชั้นดิน⚡ การทดสอบความหนาแน่นของดินในสนาม⚡

Started by Jenny937, July 27, 2024, 05:54:08 AM

Previous topic - Next topic

Jenny937

👉✨⚡การตรวจสอบความหนาแน่นของดินในสนาม👉 เพื่อใช้เปรียบเทียบกับความหนาแน่นสูงสุดของการบดอัดดินที่ได้จากห้องปฏิบัติการ⚡ จุดประสงค์ของการทดสอบ เพื่อหาความหนาแน่นของดินในสนามหรือพื้นที่ก่อสร้าง⚡ ว่าภายหลังการบดอัดพื้นที่ด้วยเครื่องมือต่างๆ นั้นพื้นที่นั้นมีความหนาแน่นสามารถรับน้ำหนักได้ตามข้อกำหนดที่คำนวณไว้หรือไม่✅

🦖👉✨โดยทั่วไปการทดสอบหาความหนาแน่นแห้งของดินในสนาม🎯 คือ การหาค่าความหนาแน่นเปียกและปริมาณความชื้นในดิน🌏 ในการทดสอบหาค่าความหนาแน่นของดินในสนาม🎯 จะมีอยู่ด้วยกัน สามวิธี📌 คือ

🦖🦖🦖⚡1. Sand Cone Method🌏วิธีนี้อาศัยทรายช่วยในการหาปริมาตรของหลุม🎯โดยทรายที่ใช้คือ ทราย Ottawa Sand🎯 ซึ่งขนาดของเม็ดทรายจะมีลักษณะกลมและมีขนาดเท่าเท่ากัน (Uniform)🦖 หรือจะใช้ทรายที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 20 ค้างตะแกรงเบอร์ 30 ก็ได้🦖 เพื่อที่จะให้ผลของความหนาแน่นที่เท่ากันโดยตลอดและไม่เกิดการแยกตัวของเม็ดหยาบและเม็ดเล็ก (Segregation) ขณะทำการทดสอบ✅
👉👉👉👉2. วิธีลูกโป่งยาง✅วิธีนี้ใช้น้ำในการหาปริมาตรของหลุม📌 ซึ่งสะดวกและรวดเร็วกว่า📌 ในการทดสอบต้องใช้ลมในการบีบอัดน้ำลงไปในหลุมทดสอบ📢 ลมที่อัดลงไปนี้มีส่วนช่วยให้น้ำในลูกโป่งอัดแนบสนิทกับก้นหลุม ทำให้ได้ค่าปริมาตรของหลุมที่ถูกต้องและแม่นยำยิ่งขึ้น🌏
📌📌📌🥇3. วิธีนิวเคลียร์👉เป็นการหาค่าความหนาแน่นของดินและปริมาณความชื้นของดินบดอัดแห้ง หาความหนาแน่นเปียกของดิน📢 โดยใช้รังสีแกมม่า🛒ส่งผ่านดินที่ต้องการ ก่อนที่จะเข้าที่รับรังสี⚡ ถ้ารังสีสะท้อนกลับไปเครื่องรับมาก แสดงว่าดินมีความหนาแน่นสูง ส่วนการหาปริมาณความชื้นโดยใช้นิวตรอน🌏ส่งผ่านเข้าไปในดินและสะท้อนไปยังเครื่องรับช้าแสดงว่าปริมาณน้ำในมวลดินมีมาก วิธีนี้จะสะดวกและรวดเร็วให้ผลเป็นที่น่าพอใจ แต่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง📢
🎯🎯📌🌏🛒🛒👉👉
Quoteบริการ เจาะดิน📌 | บริษัท เอ็กซ์เพิร์ท ซอยล์ เซอร์วิส แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
    บริษัท Soil Test📌 บริการ เจาะสํารวจดิน🌏 วิเคราะห์และทดสอบคุณสมบัติทางด้านวิศวกรรมปฐพีของดิน ทดสอบเสาเข็ม (Seismic Test)

        👉 Tel: 064 702 4996
        👉 Line ID: @exesoil
        👉 Facebook: https://www.facebook.com/exesoiltest/


🌏⚡📌🌏🛒📌🦖🥇
การก่อสร้างทางหลวง📌 สนามบิน🛒 เขื่อนดิน🎯 พื้นที่โรงงาน ฯลฯ👉 จะต้องบดอัดด้วยเครื่องมือเฉพาะตามชนิดของวัสดุ✅ หลังจากบดอัดได้ที่แล้วก็จะต้องมีการตรวจสอบผลของการบดอัดนั้นว่ามีความแน่นสามารถรับน้ำหนักได้ตามข้อกำหนดที่ได้ออกแบบคำนวณไว้หรือไม่✅ เช่น งานชั้นรองพื้นทาง (subbase) ชั้นพื้นทาง (base) จะต้องบดอัดให้ได้ 100%✨ งานชั้นดินเดิม และดินถมจะต้องบดอัดให้ได้ 95%✨ การบดอัดนี้จะต้องมีการควบคุมความชื้นในดินและพลังงานที่จะใช้ในการบดอัดให้พอเพียงและประหยัด📌 ถ้าจำนวนเที่ยวที่บดอัดมากเกินไปก็จะสิ้นเปลืองทั้งค่าแรงงานและค่าน้ำมันเชื้อเพลิง แต่ถ้าบดอัดน้อยไปก็จะไม่ได้ความแน่นที่ต้องการจะต้องกลับมาทำงานซ้ำอีก✅

✨🎯⚡การหาความแน่นของดิน🎯 คือ การหาน้ำหนักของดินในบริเวณที่บดอัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว หารด้วยปริมาตรของหลุมที่ขุดดินออกมา🌏 และการที่จะหาปริมาตรของหลุมที่กล่าวนี้ จำเป็นจะต้องวัดหรือใช้วัสดุที่รู้ความแน่น (density) และความถ่วงจำเพาะแน่นอน แล้วไปแทนที่ในหลุมที่ขุดดินขึ้นมา🥇 ซึ่งการทดสอบดังกล่าวอาจกระทำได้โดยวิธีใช้ทรายมาตรฐาน (Sand Cone Method) ช่วยในการทดสอบหรือใช้น้ำ (Balloon Density Method) ทั้งสองวิธีนี้ต่างก็อาศัยหลักอันเดียวกัน🛒

🦖🦖🦖✅ขั้นตอนการทดสอบ Field Density Test⚡✅✅✅🥇

🎯✅👉🛒1. ปรับพื้นผิวทดสอบให้เรียบขนาด 450×450 เซนติเมตร🥇 จากนั้นก็วางแผ่นฐานรองให้สนิทกับพื้นดิน แล้วตอกตะปูยึดแผ่นฐานรองให้แน่น👉 ปัดฝุ่นที่ผิวดินและที่แผ่นฐานออกให้หมด🌏
🥇🛒📌📢2. ใช้สกัดเจาะดินตรงกลางแผ่นฐาน🛒 และก้นหลุมที่เจาะจะต้องมีขนาดเท่ากับปากหลุมเจาะดินที่ขุดจากหลุมจะต้องเก็บให้หมดโดยใช้ช้อนเล็กตัก🦖 ใช้แปรงปัดเศษดินในกรณีเหลือดินน้อย👉
👉📢🌏🛒3. นำดินที่ขุดมาชั่งและบันทึกค่า แล้วนำดินส่วนหนึ่งไปหาค่าความชื้น📢
🥇🛒📌👉4. ทำการคว่ำกรวยทรายที่เตรียมไว้แล้วลงบนปากหลุมโดยให้กรวยทรายพอดีกับแผ่นฐานรองแล้วเปิดวาล์ว ระวังอย่าให้เกิดการกระทบกระเทือนในขณะปล่อยทรายลงหลุม เพราะจะทาให้ค่าที่ได้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง✅
🥇🛒📌✨5. สังเกตว่าเมื่อทรายที่ปล่อยลงหลุมหยุดไหลแล้ว ก็ทำการปิดวาล์วแล้วนำทรายที่เหลืออยู่ในกรวยไปชั่งน้ำหนักพร้อมกับกรวยทรายและจดบันทึกค่าไว้🦖
🛒📌🦖⚡6. นำทรายที่อยู่ในหลุมใส่ลงในกระป๋องเก็บทรายตามเดิมโดยพยามอย่าให้มีดินที่อยู่ในก้นหลุมติดทรายขึ้นมาด้วย เพราะว่าทรายที่เก็บขึ้นมาจะต้องทดสอบในหลุมอื่นๆ อีกต่อไป📢
Tags : เจาะสำรวจชั้นดิน